ผศ.ดร.พรรณราย ชาญหิรัญ
fhumprc@ku.ac.th


บทความวิจัย บทความวิชาการ และบทวิจารณ์


พรรณราย ชาญหิรัญ. 2562. “ “ของแปลกตา” ใน พระราชหัตถเลขาเมื่อเสด็จพระราชดำเนินประพาสยุโรป
พ.ศ. 2440 ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.วารสารไทยศึกษา 15, 1 (มกราคม-มิถุนายน): 137-166.

พรรณราย ชาญหิรัญ. 2561. “ “สามัญชน” ใน พระราชหัตถเลขาเมื่อเสด็จพระราชดำเนินประพาสยุโรป พ.ศ. 2440 ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.” Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ 11, 3 (กันยายน-ธันวาคม): 929-949.

พรรณราย ชาญหิรัญ. 2560. “กระสุนปืนวิเศษ” ใน นามานุกรมวรรณคดีไทย ชุดที่ 4 วรรณคดีไทยสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เล่มที่ 1 อักษร ก-พ, หน้า 12. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา.

พรรณราย ชาญหิรัญ. 2560. “ครวญถึงภาษาไทย” ใน นามานุกรมวรรณคดีไทย ชุดที่ 4 วรรณคดีไทยสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เล่มที่ 1 อักษร ก-พ, หน้า 73-74. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา.

พรรณราย ชาญหิรัญ. 2560. “ฉมังดื่ม” ใน นามานุกรมวรรณคดีไทย ชุดที่ 4 วรรณคดีไทยสมัย
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เล่มที่ 1 อักษร ก-พ
, หน้า 134. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา.

พรรณราย ชาญหิรัญ. 2560. “ช่วยชีวิตพ่อหนู” ใน นามานุกรมวรรณคดีไทย ชุดที่ 4 วรรณคดีไทยสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เล่มที่ 1 อักษร ก-พ, หน้า 144. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา.

พรรณราย ชาญหิรัญ. 2560. “ทำให้ฟุตบอลสนุกขึ้น” ใน นามานุกรมวรรณคดีไทย ชุดที่ 4 วรรณคดีไทย สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เล่มที่ 1 อักษร ก-พ, หน้า 220. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา.

พรรณราย ชาญหิรัญ. 2560. “ปัจจุบันพยาบาล” ใน นามานุกรมวรรณคดีไทย ชุดที่ 4 วรรณคดีไทยสมัย
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เล่มที่ 1 อักษร ก-พ,
หน้า 359. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา.

พรรณราย ชาญหิรัญ. 2560. “พระราชหัตถเลขาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทาน
แก่พระราชโอรส: วรรณกรรมคำสอนในบริบทการปรับประเทศให้ทันสมัย.” ใน เล่าเรื่องเรื่องเล่า, หน้า 101-126. นัทธนัย ประสานนาม, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (จัดพิมพ์เนื่องในการประชุมวิชาการระดับชาติ “เล่าเรื่องเรื่องเล่า” เพื่อเชิดชูเกียรติ รองศาสตราจารย์ ดร.สรณัฐ ไตลังคะ ในวาระเกษียณอายุ 18 กันยายน 2560).

พรรณราย ชาญหิรัญ. 2560. “มอบงาน” ใน นามานุกรมวรรณคดีไทย ชุดที่ 4 วรรณคดีไทยสมัย
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เล่มที่ 2 อักษร ฟ-ฮ, A-Z และภาคผนวก
, หน้า 509. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา.

พรรณราย ชาญหิรัญ. 2560. “ย่าเหล” ใน นามานุกรมวรรณคดีไทย ชุดที่ 4 วรรณคดีไทยสมัย
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เล่มที่ 2 อักษร ฟ-ฮ, A-Z และภาคผนวก
,  หน้า 538-539. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา.

พรรณราย ชาญหิรัญ. 2560. “เหตุที่อยากทราบ” ใน นามานุกรมวรรณคดีไทย ชุดที่ 4 วรรณคดีไทยสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เล่มที่ 2 อักษร ฟ-ฮ, A-Z และภาคผนวก, หน้า 750. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา.

พรรณราย ชาญหิรัญ. 2560. “อาจจะเป็นได้กระมัง” ใน นามานุกรมวรรณคดีไทย ชุดที่ 4 วรรณคดีไทยสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เล่มที่ 2 อักษร ฟ-ฮ, A-Z และภาคผนวก, หน้า 765 กรุงเทพฯ: มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา.

พรรณราย ชาญหิรัญและกิตติชัย พินโน. 2560. “บทเพลงปลุกใจคณะเสือป่า” ใน นามานุกรมวรรณคดีไทย ชุดที่ 4 วรรณคดีไทยสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เล่มที่ 1 อักษร ก-พ, หน้า 308-310. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา.

พรรณราย ชาญหิรัญและกิตติชัย พินโน. 2560. “บทเพลงปลูกฝังคุณธรรมเยาวชน” ใน นามานุกรมวรรณคดีไทย ชุดที่ 4 วรรณคดีไทยสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เล่มที่ 1 อักษร ก-พ, หน้า 311-313. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา.

พรรณราย ชาญหิรัญ. 2559. “เสด็จประพาสต้น: การบันทึกกิจกรรมพักผ่อนหย่อนใจของชนชั้นนำสยามใน
สมัยรัชกาลที่ 5.” วารสารไทยศึกษา 12, 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม): 41-63.

พรรณราย ชาญหิรัญ. 2558. "ผู้หญิงในนิราศของพลเรือตรีจวบ หงสกุล.” วารสารมนุษยศาสตร์ 22, 1 (มกราคม – มิถุนายน): 52-78.

พรรณราย ชาญหิรัญ. 2557-2558. “ความเป็นชายในมัทนะพาธา.” วารสารไทยศึกษา 10, 2 (สิงหาคม– มกราคม): 155-184.

พรรณราย ชาญหิรัญ. 2557. “นิราศของพลเรือตรีจวบ หงสกุล: วรรณกรรมวิพากษ์การทหารยุคทหารนิยม.” ใน "จะเก็บเกี่ยวข้าวงามในทุ่งใหม่ ประวัติวรรณกรรมกรรมไทยร่วมสมัยในมุมมองร่วมสมัย", หน้า 75-91. สรณัฐ ไตลังคะและนัทธนัย ประสานนาม, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: ภาควิชาวรรณคดี และคณะกรรมการฝ่ายวิจัย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมกับ สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม.

พรรณราย ชาญหิรัญ. 2556. “นิราศเกาหลี: ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณกรรมกับการเมือง.” ใน แสงแห่งพลวัตเกาหลี, หน้า 236-261. สิทธินี ธรรมชัย ดำรงค์ ฐานดี ปริศวร์ ยิ้มเสน พุทธชาติ โปธิบาล, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครรินทรวิโรฒ, คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.

พรรณราย ชาญหิรัญ. 2554. “จระเข้, นิทานในภาคกลาง.” ใน สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง (ฉบับเพิ่มเติม) เล่ม 1, หน้า 153-158. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์. 

พรรณราย ชาญหิรัญ. 2554. “จระเข้, สำนวน.” ใน สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง (ฉบับเพิ่มเติม) เล่ม 1, หน้า 158-161. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์. 

พรรณราย ชาญหิรัญ. 2554. "บทวิจารณ์หนังสือ: ปมเอดิปัสในนิทานแปร์โรต์." วารสารมนุษยศาสตร์. 18, 1, (มกราคม – มิถุนายน): 163-172. 

พรรณราย ชาญหิรัญ. 2553. “ไกรทอง: ความรุนแรงระหว่างเผ่าพันธุ์และเพศ.” ใน แด่ศักดิ์ศรีเสมอกันทุกชั้นชน: วรรณกรรมกับสิทธิมนุษยชนศึกษา, หน้า 98-121. นัทธนัย ประสานนาม, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: ภาควิชาวรรณคดี และคณะกรรมการฝ่ายวิจัย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมกับ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร.

พรรณราย ชาญหิรัญ. 2551. “ตัวละครจระเข้: ความสัมพันธ์กับประเภทของนิทานไทย.” วารสารภาษาและวรรณคดีไทย 25 (ธันวาคม): 112-131.

 




       
  @2019
    ผศ.ดร.พรรณราย ชาญหิรัญ - ภาควิชาวรรณคดี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์