ผศ.ดร.กฤตยา ณ หนองคาย
greesataya02@yahoo.com


บทความวิจัย บทความวิชาการ และบทวิจารณ์


กฤตยา ณ หนองคาย. 2560. นิทาน คติชนของครอบครัว และกาแฟอินทรีย์: การอ่านนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตปกาเกอะญอในปัจจุบัน. ใน เล่าเรื่องเรื่องเล่า, หน้า 191-218. นัทธนัย ประสานนาม, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (จัดพิมพ์เนื่องในการประชุมวิชาการระดับชาติ “เล่าเรื่องเรื่องเล่า” เพื่อเชิดชูเกียรติ รองศาสตราจารย์ ดร.สรณัฐ ไตลังคะ ในวาระเกษียณอายุ 18 กันยายน 2560).

กฤตยา ณ หนองคาย. 2558. “ประวัติศาสตร์บอกเล่าและการเมืองเรื่อง ‘พลเมือง’: การปรับตัวของคนห้วยกบในบริบทสังคมไทยยุคโลกาภิวัตน์.” ใน ชุมชน ความทรงจำ และพิธีกรรมกับการจัดการชุมชน. สรณัฐ ไตลังคะ, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: ภาควิชาวรรณคดี และคณะกรรมการฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ คณะมนุษยศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

กฤตยา ณ หนองคาย. 2554.” ‘เทพนาจา’: ความหมายขององค์เทพผ่านตำนานและพิธีกรรมในบริบทสังคมร่วมสมัย.”  ใน มนุษยศาสตร์ในทศวรรษใหม่: พลวัตแห่งองค์ความรู้กับพหุลักษณ์ทางวัฒนธรรม, หน้า 292-315. นัทธนัย ประสานนาม (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (จัดพิมพ์ในโอกาสครบรอบ 30 ปี แห่งการสถาปนาคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์). 

กฤตยา ณ หนองคาย. 2553. “คนกับป่า: ปัญหาเรื่องสิทธิการจัดการทรัพยากรในวรรณกรรมของวัธนา บุญยัง.” ใน แด่ศักดิ์ศรีเสมอกันทุกชั้นชน: วรรณกรรมกับสิทธิมนุษยชนศึกษา, หน้า 191-218. นัทธนัย ประสานนาม, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: ภาควิชาวรรณคดี และคณะกรรมการฝ่ายวิจัย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมกับ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร. 

กฤตยา ณ หนองคาย. 2552. “อินทรีแดง: นาฏกรรมของซูเปอร์ฮีโร่พันธุ์ไทย.” ใน นัทธนัย ประสานนาม, บรรณาธิการ. ละคร ระคน ตัวตน มนุษย์: วรรณกรรมกับนาฎกรรมศึกษา, หน้า 124-145. กรุงเทพฯ: ภาควิชาวรรณคดี และคณะกรรมการฝ่ายวิจัย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมกับ ศูนย์สังคีตศิลป์ ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน). 

กฤตษยา ณ หนองคาย. 2551. “Bun Bang Fai บุญบั้งไฟ.” Britannica Concise Encyclopedia ภาคภาษาไทย เล่ม 1, หน้า 390. กรุงเทพฯ: มีเดีย แม็กเน็ต.

กฤษตยา ณ หนองคาย. 2551. “Chak Phar ชักพระ.” Britannica Concise Encyclopedia ภาคภาษาไทย เล่ม 1, หน้า 487. กรุงเทพฯ: มีเดีย แม็กเน็ต.

กฤษตยา ณ หนองคาย. 2551. “Loi Krathong ลอยกระทง.” Britannica Concise Encyclopediaภาคภาษาไทย เล่ม 2, หน้า 1494. กรุงเทพฯ: มีเดีย แม็กเน็ต.

กฤษตยา ณ หนองคาย. 2551. “Raek Na แรกนา.” Britannica Concise Encyclopedia ภาคภาษาไทย เล่ม 3, หน้า 2095. กรุงเทพฯ: มีเดีย แม็กเน็ต.

กฤษตยา ณ หนองคาย. 2551. “Royal Barge พระราชพิธีเห่เรือ.” Britannica Concise Encyclopedia ภาคภาษาไทย เล่ม 3, หน้า 2180-2181. กรุงเทพฯ: มีเดีย แม็กเน็ต.

กฤษตยา ณ หนองคาย. 2551. “Song Kran สงกรานต์.” Britannica Concise Encyclopedia ภาคภาษาไทย เล่ม 3, หน้า 2393. กรุงเทพฯ: มีเดีย แม็กเน็ต.

กฤษตยา ณ หนองคาย. 2551. “Thai Language ภาษาไทย.” Britannica Concise Encyclopediaภาคภาษาไทย เล่ม 3, หน้า 2508. กรุงเทพฯ: มีเดีย แม็กเน็ต.

กฤษตยา ณ หนองคาย. 2551. “Thai Royal Institute ราชบัณฑิตยสถาน.” Britannica Concise Encyclopedia ภาคภาษาไทย เล่ม 3, หน้า 2181. กรุงเทพฯ: มีเดีย แม็กเน็ต.

กฤษตยา ณ หนองคาย. 2551. “S.E.A. Write Awards รางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน.” Britannica Concise Encyclopedia ภาคภาษาไทย เล่ม 3, หน้า 2265. กรุงเทพฯ: มีเดีย แม็กเน็ต.

กฤษตยา ณ หนองคาย. 2551. “The Art of Binary Oppositions: ความเหมือนในความต่าง ความงามในความตรงข้าม ‘Monsoon Wedding’ และ ‘Because I said so’.” Wit. 3 (กันยายน 2551): 26-35.   

กฤษตยา ณ หนองคาย. 2551. “โคลนติดล้อ: อมตะปัญหาสังคมและการเมืองไทย”. Wit. 2 (พฤษภาคม 2551): 17-24.

กฤษตยา ณ หนองคาย. 2551. “ศิลปะเซอร์เรียลิสม์ในบทเพลงรัก ‘ไม่รู้จักฉันไม่รู้จักเธอ’.” Wit. 1 (กุมภาพันธ์ 2551): 49-56.






       
  @2019
    ผศ.ดร.กฤตยา ณ หนองคาย - ภาควิชาวรรณคดี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์