สรณัฐ ไตลังคะ. 2557. “ลิง (ไม่มีหาง) ในคริสตศิลป์” ใน สรณัฐ ไตลังคะและรัตนพล ชื่นค้า, บรรณาธิการ. เรื่องเล่า ล.ลิง. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร์ พริ้นติ้ง แอนด์พับลิชชิ่ง.
สรณัฐ ไตลังคะ. 2557. "เพศวิถีและอารมณ์ปรารถนา: ครูเหลี่ยมกับนวนิยายอีโรติกของไทย", ใน “จะเก็บเกี่ยวข้าวงามในทุ่งใหม่”: ประวัติวรรณกรรมร่วมสมัยในมุมมองร่วมสมัย เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ "เพื่อก้าวข้ามสะพานที่พาดข้าม จะเก็บเกี่ยวข้าวงามในทุ่งใหม่", 12 กันยายน 2557, 32-46.
สรณัฐ ไตลังคะ. 2556. “ความไม่พยาบาท ของ ‘นายสำราญ’ กับอุดมการณ์ชนชั้นกลาง.” ใน พิพิธพรรณวรรณา: ความทรงจำและสยาม-ไทยศึกษาในบริบทสากล, หน้า 117-136. นัทธนัย ประสานนาม, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: ภาควิชาวรรณคดี และคณะกรรมการฝ่ายวิจัย คณะมนุษยศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมกับ สยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์.
สรณัฐ ไตลังคะ. 2555. “วาทกรรมว่าด้วยชนบทในวรรณกรรมของไม้ เมืองเดิม” วารสารมนุษยศาสตร์ 19, 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม), หน้า 105-129.
สรณัฐ ไตลังคะ. 2554. “จากกวีศาสตร์ของวรรณกรรมสู่กวีศาสตร์ของวัฒนธรรม.” วารสารภาษาและหนังสือ. 42: 67-75.
สรณัฐ ไตลังคะ. 2554. “โลกที่เป็นจริง เรื่องที่เป็นไป: เรื่องสั้นไทยในความเคลื่อนไหวของสังคม.” ใน วรรณมาลัย: รวมเรื่องสั้นไทยร่วมสมัยหลัง พ.ศ.2475 จาก 41 นักเขียนไทย, หน้า 10-24. แสงทิวา นราพิชญ์ และคณะ (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ: สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม.
สรณัฐ ไตลังคะ. 2554. “เพศวิถีและอารมณ์ปรารถนาในนวนิยายเรื่อง เราลิขิต ของ ร.จันทะพิมพะ.” ใน มนุษยศาสตร์ในทศวรรษใหม่: พลวัตแห่งองค์ความรู้กับพหุลักษณ์ทางวัฒนธรรม, หน้า 262-276. นัทธนัย ประสานนาม (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (จัดพิมพ์ในโอกาสครบรอบ 30 ปี แห่งการสถาปนาคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์).
สรณัฐ ไตลังคะ. 2553. “ทากและปลิงอันอาจสูบเลือดให้ม้วยมรณ์: ผู้หญิงในเรื่องสั้นไทยแนว ‘ผจญไพร’.” ใน แด่ศักดิ์ศรีเสมอกันทุกชั้นชน: วรรณกรรมกับสิทธิมนุษยชนศึกษา, หน้า 80-97. นัทธนัย ประสานนาม, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: ภาควิชาวรรณคดี และคณะกรรมการฝ่ายวิจัย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมกับ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร.
สรณัฐ ไตลังคะ. 2552. “ลับแล, แก่งคอย อำนาจของเรื่องเล่าในการทำลาย/สร้าง ตัวตน.” วารสารภาษาและหนังสือ. 40 (ธันวาคม): 99-109.
สรณัฐ ไตลังคะ. 2552. “บทละครเวทีสมัยใหม่ของไทยในทศวรรษ 2510: นาฏกรรมแห่งความขุ่นข้อง.” ใน นัทธนัย ประสานนาม, บรรณาธิการ. ละคร ระคน ตัวตน มนุษย์: วรรณกรรมกับนาฎกรรมศึกษา, หน้า 104-123. กรุงเทพฯ: ภาควิชาวรรณคดี และคณะกรรมการฝ่ายวิจัย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมกับ ศูนย์สังคีตศิลป์ ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน).
สรณัฐ ไตลังคะ. 2552. บทสังเคราะห์ “คำพิพากษาในฐานะนวนิยายวิพากษ์สังคมไทย ทศวรรษ
2520.” และบทบรรณาธิการเรื่องสั้น/ความเรียง ของศิลปินแห่งชาติ อาจิณ ปัญจพรรค์, คำสิงห์ ศรีนอก (ลาว คำหอม), อัศศิริ ธรรมโชติ, อบ ไชยวสุ (ฮิวเมอริสต์), ระวี ภาวิไล, โกวิท เอนกชัย (เขมานันทะ), กรุณา กุศลาสัย เรื่อง “โลกของนักเขียน: ข้อคิดจากงานคัดสรรของศิลปินแห่งชาติ.” ใน โครงการวรรณศิลป์เพื่อเผยแพร่ผลงานวรรณกรรมของศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. (อยู่ระหว่างการจัดพิมพ์)
Soranat Tailanga. 2008. “Modernist Thai Short Stories: The Relationship with Art.” MANUSYA 11, 2 (September).(forthcoming)
สรณัฐ ไตลังคะ. 2550. “เรื่องสั้นคตินิยมสมัยใหม่กับการเปลี่ยนแปลงสังคมเมือง.” วารสารไทยศึกษา. 3 ,1 (กุมภาพันธ์-กรกฎาคม).
อิราวดี ไตลังคะ. 2549. “25 ปี การวิจารณ์คำพิพากษา: เวลาเปลี่ยน แนวทางการวิจารณ์เปลี่ยน.” มติชนสุดสัปดาห์. 26,1359 (1-7 ก.ย.): 89-90.
อิราวดี ไตลังคะ. 2549. “สุรชัย จันทิมาธร: ปรารถนาเรืองรอง จึงบังเกิดครรลอง ให้พี่น้องได้ชื่นชม.” มติชนสุดสัปดาห์. 26,1343 (12-18 พ.ค.): 89-90.
อิราวดี ไตลังคะ.2549. “ประวัติศาสตร์นิพนธ์กับโฉมหน้าบันเทิงคดีร้อยแก้วยุคแรกในสมัยรัตนโกสินทร์”. วารสารภาษาและหนังสือ. 37,1.
Irawadee Tailanga. 2005. “Life in Agony: The Cities as Portrayed in Modernist Thai Short Stories (1964-1973).” MANUSYA Special Issue: Intertextuality and Literary Interpretation. No.10.
อิราวดี ไตลังคะ. 2548. “วรรณกรรมภูมิภาคนิยม: เป็น อยู่ คือ.” คนรักหนังสือ.1, 3 (กันยายน).
อิราวดี ไตลังคะ. 2548. “เรื่องเล่าในโลกลวง: เรื่องเล่ากับการเสียดสีสังคมหลังสมัยใหม่”.
มติชนสุดสัปดาห์. 25, 1301 และ 1302 (22-28 ก.ค., 29 ก.ค. – 4 ส.ค.): 75-76.
อิราวดี ไตลังคะ. 2548. “กว่าสองทศวรรษ ‘คำพิพากษา’: ใครกันแน่ที่อยู่ในร่างแห.” คนรักหนังสือ. 1 ,1 (เมษายน)
อิราวดี ไตลังคะ.2548. “หนังสือรวมบทวิจารณ์วรรณกรรม: ‘ยังต้องออกแรงมากกว่านี้.” มติชนสุดสัปดาห์.25,1283 (18-24 มี.ค.): 75-76.
อิราวดี ไตลังคะ. 2547. “เรื่องเล่า สายน้ำ และความตาย: ปมปัญหาและการคลี่คลาย.” ในมองข้ามบ่านักเขียน.
สุวรรณา เกรียงไกรเพ็ชร, บรรณาธิการ. กรุงเทพ: ชมนาด.
อิราวดี ไตลังคะ. 2547. “บันเทิงคดีสืบสวนแนวคตินิยมหลังสมัยใหม่ The New York Trilogy ของ Paul Auster (จบ).” มติชนสุดสัปดาห์. 24 ,1254 (3 – 9 ก.ย.): 75-76.
อิราวดี ไตลังคะ. 2547.“บันเทิงคดีสืบสวนแนวคตินิยมหลังสมัยใหม่ The New York Trilogy ของ Paul Auster (1).” มติชนสุดสัปดาห์. 24 ,1254 (27 ส.ค. – 2 ก.ย.): 90-91.
อิราวดี ไตลังคะ.2547.“เพราะเรารักกวีนิพนธ์.” มติชนสุดสัปดาห์. 24 ,1247 (9-15 ก.ค.): 90-91.
อิราวดี ไตลังคะ. 2547. “If On A Winter’s Night A Traveler ของ อิตาโล คัลวีโน: ทำไมเราจึงอ่าน?.” มติชนสุดสัปดาห์. 24 ,1234 (9-15 เม.ย.): 90-91.
อิราวดี ไตลังคะ. 2546. “นวนิยายเข้ารอบคัดเลือกซีไรต์กับลักษณะคตินิยมหลังสมัยใหม่ (Post-modernism).” วารสารอักษรศาสตร์. 32 , 2 (ก.ค. - ธ.ค.)
อิราวดี ไตลังคะ. 2546. “ชวนกันอ่าน นวนิยายเข้ารอบคัดเลือกซีไรต์ 2546 (2).” มติชนสุดสัปดาห์. 23 ,1198 (1-7 ส.ค.): 87-88.
อิราวดี ไตลังคะ. 2546. “ชวนกันอ่าน นวนิยายเข้ารอบคัดเลือกซีไรต์ 2546 (1).” มติชนสุดสัปดาห์. 23,1197 (25-31 ก.ค.): 87-88.
อิราวดี ไตลังคะ.2546. “ความทรงจำของเคโกะ คารายุคิซัง นวนิยายอิงประวัติศาสตร์หรือเอกสารทางประวัติศาสตร์?.”มติชนสุดสัปดาห์. 23 ,1182 (11-17 เม.ย.): 63-64.
อิราวดี ไตลังคะ. 2545.“สำนวนภาษาในเรื่องสั้นของปราบดา หยุ่น”. วารสารมนุษยศาสตร์. 10.
อิราวดี ไตลังคะ. 2545. “อุบัติการณ์ซีไรต์ 2545.” มติชนสุดสัปดาห์. 22 ,1150 (2 -8 ก.ย.): 67-68.
อิราวดี ไตลังคะ. 2545. “เมื่อขนบเรื่องสั้นถูกทำลาย.”มติชนสุดสัปดาห์. 22 ,1144 (22-28 ก.ค.): 67-68.
อิราวดี ไตลังคะ. 2545.“บันทึกรักของบริดเจ็ต โจนส์: นวนิยายหลงศตวรรษ.” มติชนสุดสัปดาห์. 22 ,1132 (29 เม.ย.-6 พ.ค.): 87-88.
อิราวดี ไตลังคะ. 2545.“สัจนิยมมหัศจรรย์กับการเย้ยหยันสังคม.” มติชนสุดสัปดาห์. 22 ,1127 (25 -31 มี.ค.): 76-77.
อิราวดี ไตลังคะ. 2545.“ละเลียดภาษา.” มติชนสุดสัปดาห์. 22,1119 (28 ม.ค. – 3 ก.พ.) : 63-64.
อิราวดี ไตลังคะ. 2544. “ปรัชญาและปรัชญาภาษาในภาพเขียนของเรอเน มากริตต์.” มนุษยศาสตร์: สหวิทยาการแห่งชีวิต, หน้า 91-101. วรรณา นาวิกมูล, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสครบรอบ 20 ปี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์).
อิราวดี ไตลังคะ. 2544. “แนวทางการวิจารณ์ในสมัยศตวรรษที่ 20.” สารภาษาไทย. 1,1 (ก.ค.- ก.ย.).
อิราวดี ไตลังคะ. 2544. “เรื่องของจัน ดารา/นวนิยาย จันดารา/ภาพยนตร์: จะเหลืออะไรให้เสพหากไร้ฉากสังวาส.”มติชนสุดสัปดาห์. 21,1104 (15 ต.ค.): 67-68.
อิราวดี ไตลังคะ. 2544. “งานเขียนบุรุษนิยมในแบบของแฟรงค์ มัวร์เฮาส์.” มติชนสุดสัปดาห์. 21,1102 (1 ต.ค.): 60-62.
อิราวดี ไตลังคะ. 2544. “คนอ่านสร้างเรื่อง.” มติชนสุดสัปดาห์. 21,1099 (10 ก.ย.): 64.
อิราวดี ไตลังคะ. 2544. “รางวัลวรรณกรรม: ร่วมกัน ‘สร้างสรรค์’ ไม่ใช่ ‘ทำลาย’.” มติชนสุดสัปดาห์. 21,1095-96
(13, 20 ส.ค.): 63, 67.
อิราวดี ไตลังคะ. 2544. “ข้างหลังภาพ: สร้างอย่างไรจึงไม่ชวนง่วง.” มติชนสุดสัปดาห์. 21,1080 (30 เม.ย.): 67-68.
อิราวดี ไตลังคะ. 2544. “วรรณกรรมหลังสมัยใหม่ของไทย: ใครว่าเพิ่งเกิด.” มติชนสุดสัปดาห์. 21,
1077 (9 เม.ย.): 66-67.
อิราวดี ไตลังคะ. 2544. “อุทกภัยในดวงตา: ปราบดา หยุ่น-นักอ่านพบกันครึ่งทาง.” มติชนสุดสัปดาห์. 21,1070 (19 ก.พ.): 71-72.
อิราวดี ไตลังคะ. 2544. “ไร้ขอบเขต: บางเรื่องของฮูลิโอ คอร์ตาซาร์.” มติชนสุดสัปดาห์. 21,1068 (5
ก.พ.): 43-44.
อิราวดี ไตลังคะ. 2544. “เขียนเรื่องจากรูป: เรื่องสั้นเมียคนต้อนวัวของเมอร์เรย์ เบล.” มติชนสุดสัปดาห์. 21,1065 (15 ม.ค.): 43-44.
อิราวดี ไตลังคะ. 2543. “ความน่าจะเป็นอะไร.” มติชนสุดสัปดาห์. 21,1058 (27 พ.ย.) : 70-72.
อิราวดี ไตลังคะ. 2542. “แนวทางวรรณกรรมวิจารณ์ตะวันตกเพื่อแง่มุมการวิจารณ์ที่หลากหลาย.”
วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ. 7.
อิราวดี ไตลังคะ. 2536. “นวนิยายของดอกไม้สด: คำประกาศของผู้หญิงยุคใหม่.” วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ. 1, 64-70.